วันอังคารที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2554

แบบส่งตัวอย่างตรวจวินิจฉัยโรค


แบบส่งตัวอย่างตรวจวินิจฉัยโรค
Viral Myocarditis/ Pericarditis/ Meningitis/ Encephalitis/ Hand foot and mouth disease จากไวรัสเอนเตอโร
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

ถนนติวานนท์ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท์ 0-2951-0000 โทรสาร 0-25912153
(หมายเลขวิเคราะห์.....................................)
ชื่อ-สกุลผู้ป่วย..........................................................................................เพศ   ¡  ชาย  ¡ หญิง อายุ...................ปี........................เดือน........................วัน
ที่อยู่เลขที่....................................หมู่ที่..................................ถนน...............................................................ตำบล......................................................................
อำเภอ/เขต.............................................................จังหวัด.................................................................โทรศัพท์...........................................................................
วัน/เดือน/ปี ที่เริ่มป่วย............................................วัน/เดือน/ปี ที่รับไว้.............................................วัน/เดือน/ปี ที่จำหน่าย.....................................................
รับการรักษาที่ รพ...............................................................อำเภอ....................................................................จังหวัด................................................................
รหัสไปรษณีย์............................................โทรศัพท์..............................................HN……………………..แพทย์ผู้รักษา........................................................
ประวัติการป่วยครั้งก่อน
Pharyngotonsilitis
£ เคย 
 £ไม่เคย  วันที่.........../............/.............
Rheumalism
£ เคย 
 £ไม่เคย  วันที่.........../............/.............
หอยเหนื่อย 
£ เคย 
 £ไม่เคย  วันที่.........../............/.............
เล็บมือและเท้าเขียวคล้ำ  £ เคย 
 £ไม่เคย  วันที่.........../............/.............
อาการและการตรวจพบ
 £มีไข้ นาน.....................วัน   อุณหภูมิสูงสุด..........................˚ซ   ขณะนี้ยังมีไข้...........................˚
 £ไม่มีไข้ £หอบ
£เหนื่อยง่าย
£ไม่รู้สึกตัว


 £  Cyanosis £  Clubbig fingers £ลักษณะผื่น................................................บริเวณ............................................................................
 £เม็ดตุ่มใสบริเวณฝ่ามือ/เท้า/ลำคอ £คอแข็ง





ตัวอย่างส่งตรวจ








 £อุจจาระ   เก็บ วัน/เดือน/ปี......../......../........                        £สวอบคอ    เก็บ วัน/เดือน/ปี......../......../........ 
 £น้ำไขสันหลัง เก็บ วัน/เดือน/ปี......../......../........   
 £เลือด เก็บครั้งที่ 1 วัน/เดือน/ปี......../......../........                  เก็บครั้งที่ 2 วัน/เดือน/ปี......../......../........   
วัน/เดือน/ปี ที่ส่งตัวอย่าง......./......./........






ชื่อและที่อยู่ของผู้นำส่งตัวอย่าง ชื่อและที่อยู่ของผู้ที่ต้องการทราบผล
ชื่อ............................................................................................................... ชื่อ...............................................................................................................
ที่อยู่............................................................................................................ ที่อยู่............................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
โทรศัพท์..................................................................................................... โทรศัพท์.....................................................................................................
โทรสาร....................................................................................................... โทรสาร.......................................................................................................












สำหรับเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการบันทึกสภาพตัวอย่างส่งตรวจ





1. ปริมาณ
£พอ £ไม่พอ
2. น้ำแข็ง
£มี  £ไม่มี

3. สภาพ
£แห้ง £ชื้น
4. อื่นๆ..................................


สรุป
£ดี £ไม่ดี






ลงชื่อ...................................................ผู้รับตัวอย่าง
วัน/เดือน/ปี............/............./.............

วันจันทร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2554

กิจกรรมการล้างมือ




กิจกรรมการล้างมือ
1.การล้างมือด้วยสบู่และน้ำฆ่าเชื่อ
      1.1 ล้างมือด้วยน้ำสะอาดให้ทั่วใช้สบู่หรือน้ายาฆ่าเชื้อ 
      1.2 ใช้ฝ่าถูกัน ฟอกฝ่ามือ ง่ามนิ้วมือด้านหน้า     
             และด้านหลัง
      1.3 ฟอกนิ้ว ข้อนิ้วมือด้านหลัง นิ้วหัวแม่มือ   
            ฟอกปลายนิ้วมือและรอบข้อมือทั้ง2ข้าง
      1.4 ใช้เวลาอย่างน้อย 
            - 10 วินาที (การล้างมือธรรมดา)
            - 30 วินาที (การล้างมือด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ)
           - 2-6 นาที (การล้างมือก่อนทำหัตถการปลอดเชื่อ)
     1.5 ล้างมือด้วยน้ำสะอาดจนหมดคราบสบู่/น้ำยาฆ่าเชื้อ  
     1.6 เช็ดมือให้แห้งด้วยกระดาษ/ผ้าสะอาดและใช้ผ้า
           กระดาษปิดก๊อกน้ำ
 2. การล้างมือด้วย Waterless
      2.1 ใช้น้ำยา waterless (Alcohol hand rub)  
           ประมาณ5 ซีซี.ให้ทั่วรอจนมือแห้ง โดยไม่ต้องล้างมือ  
          ด้วยน้ำหรือน้ำยาฆ่าเออีก น้ำยาฆ่าเชื้ออีก

แบบบันทึกข้อมูลการปฏิบัติตาม WI การสวนปัสสาวะและการดูแลผู้ป่วยที่สายสวนปัสสาวะ



ขั้นตอนการให้บริการ



กิจกรรมบริการ
การเตรียมอุปกรณ์ 1. ทำความสะอาดมือ
2. เตรียมอุปกรณ์ ชุดทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ และชุดสวนปัสสาวะ
การสวนคาสายสวนปัสสาวะ 1. ผู้ป่วยและญาติได้รับคำอธิบายถึงความจำป็นที่ต้องสวนคาสายสวนปัสสาวะ
2. ทำความสะอาดมือ สวมถุงมือสะอาด
3. ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ (ชุดอุปกรณ์ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์)
4. เตรียมอุปกรณ์การใส่สายสวน อย่าง Aseptic Technique อุปกรณ์ที่ปราศจากเชื้อ: สายสวน/ ถุงมือ/ ชุดรองรับปัสสาวะ
5. แจ้งให้ผู้ป่วยทราบ
6. จัดแสงสว่างให้เพียงพอ  จัดท่าผู้ป่วยให้เหมาะสม ผู้ชายนอนราบ ผู้หญิงนอนชันเข่า                                                                                                                                                                                                                 
7. ทำความสะอาดมือแบบ Hygienic handwashing ใส่ถุงมือ Sterile
8. ทำความสะอาด Urethal Meatus ด้วย Antiseptic เช่น Povidoneiodine ตามด้วย NSS หรือ Distilled water ก่อนใส่สายสวน
9.ใส่สายสวนด้วยความระมัดระวัง นุ่มนวล ระวังการปนเปื้อน เมื่อใส่ได้แล้ว ให้ผู้ช่วยต่อสายกับชุดรองรับปัสสาวะ และปิดปลายถุงรองรับปัสสาวะ ระวังการปนเปื้อน

การสวนคาสายสวนปัสสาวะ (ต่อ) 10. ยึดตรึงสายสวนให้อยู่กับที่ ติดสาย Catheter กับโคนขาด้านใน(ผู้หญิง) หรือหน้าท้องด้านล่าง หรือปุ่มกระดูกโคนขาด้านหน้า(ผู้ชาย)
การดูแลขณะคาสายสวนปัสสาวะ 1. ให้คำแนะนำผู้ป่วยถึงข้อปฏิบัติ
    1.1 ไม่ดึงสายออกเอง
    1.2 ให้ถุงปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าระดับเอว หรืออยู่ต่ำกว่ากระเพาะปัสสาวะของผู้ป่วย
    1.3ไม่วางถุงปัสสาวะบนพื้น หรือปลายติดพื้น
    1.4 ระวังสายสวนปัสสาวะพับงอ
2. ดูแลให้เป็นระบบปิดเสมอ
3. ทำความสะอาดมือทุกครั้งก่อนจับต้องสายสวนปัสสาวะ
4. หากถุงรองรับปัสสาวะหรือสายต่อหลุด หรือ รั่ว ให้เปลี่ยนถุง และสายต่อใหม่ทั้งชุดด้วย   Aseptic Technique
5. ให้ Clamp สายขณะเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
6. ดูแลอย่าให้สายต่อสัมผัสพื้น และไม่ควรวางถุงรองรับปัสสาวะไว้ใกล้สายหรือขวดระบายอื่นๆ
7. หลีกเลี่ยงการสวนล้าง (Irrigation) กระเพาะอาหาร
    7.1    ทำในกรณีที่มีการอุดตัน เช่น เลือดออกหลังผ่าตัดให้ทำด้วยวิธี Closed     continuous  irrigation เพื่อป้องกันการอุดตัน ด้วย Sterile syringe and fluids      และ Aseptic techntque
    7.2    กรณีที่อุดตันจากก้อนเลือด / mucus / หรือสาเหตุอื่น ให้ทำด้วย Intermittent irrigation
    7.3    กรณีที่อุดตันภายในสาย ให้เปลี่ยนสายสวน
8. การเก็บ Urine specimen  ให้ดูดออกจากปลายสายโดยเช็ดด้วยน้ำยาทำลายเชื้อก่อน เช่น 70% Alcohol
ขั้นตอนการให้บริการ กิจกรรมบริการ
การดูแลขณะคาสายสวนปัสสาวะ (ต่อ) 9. เทปัสสาวะออกเมื่อมีปัสสาวะในถุงประมาณ 3/4 ของถุง ใส่ถุงมือขณะเทปัสสาวะและทำความสะอาดมือ เช็ดรอยต่อด้วย 70 % Alcohol ใช้ภาชนะรองรับแยกกัน ระหว่างปลายท่อสัมผัสถูกปากภาชนะรองรับปัสสาวะ
10. ทำความสะอาดอวัยวะเพศสืบพันธ์ด้วยน้ำกับสบู่ วันละ 2 ครั้ง และหลังการขับถ่ายอุจจาระ
การเก็บอุปกรณ์หลังถอดสายสวนปัสสาวะ 1. กรณีที่มีน้ำปัสสาวะให้เททิ้งโถชักโครก  ชุดสายสวนปัสสาวะให้ทิ้งขยะแดง

การดูแลผู้ป่วยที่ใส่สายสวนปัสสาวะ



ข้อ ข้อกำหนดการปฏิบัติ
1 Urin bag อยู่ต่ำกว่าระดับกระเพาะปัสสาวะและไม้ห้อยติดพื้น
2 สาย Urin ไม่พับงอ ไม่ถูกกดทับ
3 Plaster ยึดติดปัสสาวะไม่รั้งหรือตึง
4 สังเกตุสีปัสสาวะทุกครั้งที่เข้าเยี่ยม ดูแลผู้ป่วย
5 สังเกตุจำนวนปัสสาวะทุกครั้งที่เข้าดูแลผู้ป่วยและบันทึกทุก 8 ชม.
6 ใช้ Alcohol sheet เช็ดจุกเปิด-ปิดทุกครั้งก่อนและหลังเทปัสสาวะ
7 เจ้าหน้าที่ล้างมือหรือใช้ Alcohol handrub ก่อนและหลังเทปัสสาวะ
8 ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะที่ใส่สายสวนปัสสาวะทุกเวร-หลังถ่าย
9 Clamp สายทุกครั้งที่มีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
10 การใช้ขวดตวงสายปัสสาวะ 1 ขวดต่อผู้ป่วย 1 คน
ข้อกำหนดการปฏิบัติ
1 Urin bag อยู่ต่ำกว่าระดับกระเพาะปัสสาวะและไม่ห้อยติดพื้น
2 สาย Urin ไม่พับงอ ไม่ถูกกดทับ
3 Plaster ยึดติดปัสสาวะไม่รั้งหรือตึง
4 สังเกตุสีปัสสาวะทุกครั้งที่เข้าเยี่ยม ดูแลผู้ป่วย
5 สังเกตุจำนวนปัสสาวะทุกครั้งที่เข้าดูแลผู้ป่วยและบันทึกทุก 8 ชม.
6 ใช้ Alcohol sheet เช็ดจุกเปิด-ปิดทุกครั้งก่อนและหลังเทปัสสาวะ
7 เจ้าหน้าที่ล้างมือหรือใช้ Alcohol handrub ก่อนและหลังเทปัสสาวะ
8 ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะที่ใส่สายสวนปัสสาวะทุกเวร-หลังถ่าย
9 Clamp สายทุกครั้งที่มีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
10 การใช้ขวดตวงสายปัสสาวะ 1 ขวดต่อผู้ป่วย 1 คน
  Remark; ช่อง steff ให้ลงชื่อผู้ปฏิบัติและดำเนินการให้เป็นไปตามข้อกำหนด ส่วนข้อ 4 และ 5 ให้ลงรายละเอียดในช่องหมายเหตุ

วาระการประชุมแผนกผุ้ป่วยหนักวิกฤติ




ระเบียบวาระที่ 1  รับรองวาระการประชุม
                                            ไม่มี
ระเบียบวาระที่ 2เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
วันนี้เป็นวันเปิดแผนกเป็นวันแรก ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนมาทำงานในแผนก ICU ทุกคน มาจากหลายๆจังหวัด ส่วนใหญ่จะอยู่จังหวัดภาคใต้ของเรา ขอให้ทุกคนทำงานอย่างมีความสุข มีปัญหาต่างๆให้คุยกัน บางคนได้รับการปฐมนิเทศแล้วจะทราบระเบียบ ข้อบังคับของโรงพยาบาลแล้ว สำหรับทำงานในแผนก ICU ขอให้ใช้ระบบพี่ๆน้องๆ ทำงานเป็นทีม ไม่แบ่งพรรคแบ่งพวก น้องต้องเคารพพี่ พี่ก็ดูแลน้อง โรงพยาบาลอบจ. เป็นโรงพยาบาลรัฐบาล สังกัดกระทรวงมหาดไทย การให้บริการ สวัสดิการเป็นแบบเอกชน แต่ค่ารักษาพยาบาล ค่ายา เครื่องมือแพทย์ต่างๆราคารัฐบาล โรงพยาบาลอบจ.เปิดบริการชาวภูเก็ต ข้าราชการ สปสช. ประกันสังคม ประกันชีวิต รวมถึงชาวต่างชาติเดินทางเข้ามาเป็นนักท่องเที่ยวและมาทำงานที่ภูเก็ต ในอนาคตอันใกล้นี้ plan จะเปิด Ward 10 เพื่อบริการชาวต่างชาติ  แผนก ICU มีทั้งหมด 14 ห้อง ช่วงแรกจะเปิดบริการเพียง 6 ห้อง มีห้อง Isolate 1 ห้อง และมีห้องที่สามารถล้างไตได้ 6 ห้องคือห้อง 1-6
-                                           อุปกรณ์ทางการแพทย์ ตอนนี้มีเครื่องช่วยหายใจ 4 เครื่อง ที่นอนลม, Infusion pump,Syringe pump,เครื่อง DTX,Endo Test,Opthalmoscope,Exhalometer,เตียงนอนผู้ป่วย 5 fuction ,พัดลมดูดอากาศ,Hypo-Hyperthermiaและอื่นๆ
-                                           ขอให้น้องๆทุกคนช่วยกันจัดแผนก/จัด 5 ส และอุปกรณ์การแพทย์ เวชภัณฑ์ ยาต่างๆ
-                                           จัดรถ Emergency รถ Treatment และจัดเตรียม Form เอกสารต่างๆที่ใช้ในแผนก
-                                           บริษัทเครื่องมือแพทย์จะเข้ามาสอนการใช้เครื่องมือแพทย์ต่างๆรวมถึงเรียนรู้ระบบ Himsและจะแจ้งให้ทราบ
-                                           ยาในรถ Emergency และยา stock,เวชภัณฑ์ต่างๆได้มาบางส่วนและค่อยๆทะยอยมาเรื่อยๆ
-                                           CPR ในแผนก ICU ไม่ต้องตามเจ้าหน้าที่จากแผนกอื่นมา แต่ให้ตามเจ้าหน้าที่เวรเปลขึ้นมาช่วย
-                                           ICU มีทั้งหมด 14 ห้อง ห้อง Isolate มี 1 ห้อง และสามารถล้างไตได้ 6 ห้อง ในช่วงแรกจะเปิดให้บริการ 6 ห้อง
-                                           การปฎิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เวร RN 160 ชั่วโมง ,NA 180 ชั่วโมง การจัดเวรในช่วงแรกจะจัดตามผู้ป่วยที่ Admit และในช่วงแรกจะยังไม่มีค่า OT
-                                           กฏระเบียบการจัดและแลกเปลี่ยนเวรจะต้องแจ้งแผนกฝ่ายบุคคล
-                                           โครงสร้างของปลั๊กไฟห้องผู้ป่วยใช้ได้หมดทุกห้องแล้ว
-                                           คนที่ไม่มีประสบการณ์การทำงานให้ประกบคนที่มีประสบการณ์ทำงานมาแล้ว
-                                           การคำนวณยาจะให้พี่เกศราสอน
-                                           การจัด 5ส ของแผนก ICU
-                                           สปสช.ของโรงพยาบาลได้รับการประเมินให้ผ่านแล้วและจะมาตรวจประมาณเดือนสิงหาคม
-                                           แบบฟอร์ม(เอกสาร)ของ ICU ให้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ควบคู่กับ Manual จนกว่าระบบ IT จะสามารถใช้งานได้ครบ 100 %
-                                           ค่าใช้จ่ายของผู้ป่วย การเงินจะขึ้นมาเก็บเองในช่วงเวลาของแต่ละเวร
-                                           การกำหนดเวลาเยี่ยมผู้ป่วยยังไม่ทราบเวลาที่แน่นอน อาจจจะต้องใช้การกำหนดเวลาเยี่ยมเหมือนรัฐบาล
ระเบียบวาระที่  3เรื่องสืบเนื่อง
                                                ไม่มี
ระเบียบวาระที่  4เรื่องประเด็นปัญหา
                              -     เจ้าหน้าที่ในแผนกไม่มีประสบการณ์
-     วัสดุ,เวชภัณฑ์,ยายังมาไม่ครบ
                                           -     ยังไม่ทราบระบบงานที่ชัดเจน
เลิกประชุมเวลา 16.00น.
ลงชื่อ……………………………….ผู้บันทึกรายงานการประชุม
                                                                                      (………………………………)
                                                                             ตำแหน่ง…………………………….

                                                                    ลงชื่อ……………………………….ผู้ตรวจรายงานการประชุม                                                                                                                 (………………………………)
ตำแหน่ง…………………………….


การประชุมแผนกผู้ป่วยหนักวิฤติ




ครั้งที่ 3 /2554
วันที่ 7 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2554 (เดือนกันยายน)
เริ่มประชุมเวลา  14.00 น
ประธาน เปิดการประชุม
ประธานกล่าวนำขอต้อนรับเข้าสู่การประชุมแจ้งเรื่องการประชุมให้ทราบในหลายประเด็นด้วยกันในการประชุมในครั้งนี้
ระเบียบวาระที่ 1 รับรองวาระการประชุม
        ไม่มี


ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
 เรื่องการลาออกจากการทำงาน จะต้องแจ้งให้ทางโรงพยาบาลและผู้บังคับบัญชาทราบก่อนล่วงหน้า 1 เดือน เพื่อไม่ให้เป็นการเสียประวัติแก่ตนเอง ในการที่จะไปสมัครงานหรือเริ่มงานใหม่

การรับ Order แพทย์   
       วิธีการรับ Order แพทย์    คือ ต้องมีลายเซ็นต์ของผู้รับ ระบุวันที่ และเวลาให้เรียบร้อย ด้วยปากกาสีแดง
-           การรับ Order แพทย์    ในกรณีมี Order Off ยา
กรณีมี Order Off ยา ให้เซ็นต์รับ Order ในหน้าที่แพทย์สั่ง Off ( หน้าปัจจุบัน) และให้ย้อนไปดู Order ก่อนหน้าด้วยว่าแพทย์ ขีดให้ Off ยาตัวนั้นด้วยหรือไม่ ถ้ามีก็ให้เซนต์รับ Order ด้วย 
แนวทางการเขียน Off ยาในใบ MAR คือ เขียนคำว่า Off /วันที่ Off/เวลาที่Off/ และชื่อ RN ผู้เขียน Off ให้ตรงกับช่องวันที่ในใบMAR  จากนั้นให้ไม้บรรทัดขีดลากยาว (*ถ้าเป็นยาฉีดให้เขียนกับปากกาสีแดง ถ้าเป็นยากินเขียนกับปากกาสีน้ำเงิน)
-          การรับ Order แพทย์    ในกรณีมีการ review treatment 
ยาบางอย่างที่มี Orderreview treatment  เหมือนกับ Order เดิม  ไม่ต้องเขียนในใบ MAR ใหม่
ยาบางอย่างที่มี Orderreview treatment  เหมือนกับ Order เดิม  แต่แตกต่างเฉพาะบางอย่าง เช่น ลด/เพิ่มจำนวน  หรือเปลี่ยนเวลาที่ให้ ไม่ต้องเขียนในใบ MAR ใหม่แต่ให้เขียนลงในยาเดิม ใบเดิม ว่า ลด/เพิ่มจำนวน  หรือเปลี่ยนเวลา  หรือเปลี่ยนไปจากเดิมอย่างไร
กรณี Orderreview treatment  ยา  ไม่เหมือนกับ Order เดิม  ต้องเขียนในใบ MAR ใหม่
ยา Stock ward
หากมีการใช้ไปก่อนแล้วให้เบิกคืนด้วย  ห้ามให้ยาStock ward แก่ใครทั้งนั้นไม่ว่ะเป็นเจ้าหน้าที่หรือญาติผู้ป่วยการ ให้ใช้ได้กับผู้ป่วยเท่านั้นและเบิกมาคืนให้เรียบร้อย *ยา Stock wardทุกตัวต้องมีเท่าเดิม*

การ KEY ค่าบริการต่างๆ
-          ค่าบริการต่างๆแม้ว่าจะเป็นชนิดเดียวกันราคาไม่เท่ากันขึ้นอยูกับว่าผู้ป่วยรายนั้นใช้สิทธิในการรักษาอะไร และสิทธิราคาอาจแตกต่างกัน ให้ไปดูในเอกสารค่าบริการสาธารณสุขอีกทีซึ่งเอกสารกำลังอยู่ในระหว่างการดำเนินการยังไม่เรียบร้อย หากเรียบร้อยจะแจ้งให้ทราบภายหลัง เพื่อที่จะได้มีมาตรฐานไปในแนวทางเดียวกัน
-          ห้ามKey ค่าบริการต่างๆล่วงหน้า
แบบฟอร์มต่างๆที่ใช้ในแผนก
-          เอกสารต่างๆเน้นให้เขียนลงทุกช่องห้ามเว้นไว้เพราะอาจมีปัญหาในการรีวิว Chart ภายหลัง  ห้ามใช้ปากกาลบคำผิดลบโดยเด็ดขาด อาจจะมีปัญหาภายหลังกรณีญาติหรือผู้ป่วยมีการฟ้องร้องโรงพยาบาล
-          ในใบ ICU Record ให้ลง OK IV ให้เวรถัดไปด้วยว่าเหลือปริมาณเท่าไหร่
-          ในการรับAdmitted ผู้ป่วยแต่ละราย พยาบาลต้องมีการ assessment ผู้ป่วย ว่าผู้ป่วยรายนี้น่ามีปัญหาอะไรบ้างเพื่อที่จะได้เตรียมเอกสารหรือแบบฟอร์มนอกเหนือจากเอกสารชุด Admitted ให้ตรงกับสภาพปัญหาผู้ป่วย เช่นมีประวัติ DM อาจต้องเตรียม Diabetic sheet  , ผู้ป่วย Nero เตรียม Nero sheet, ผู้ป่วยมี Criteria ของการติดเชื้อ ใช้ใบSurveillance Form
-          กลุ่มโรคติดต่อที่ต้องรายงาน อยู่ใน Flow chart Kardex หากสงสัยว่าผู้ป่วยเป็นให้เขียนใบ รง. 506 ส่งเวชระเบียน และส่งต่อสาธารณสุขจังหวัดภายใน 24 ชั่วโมงเพื่อที่จะได้เฝ้าระวังติดตามต่อไป  ในใบ รง. 506 ให้กรอกที่อยู่ปัจจุบันของผู้ป่วยที่อยู่ปัจจุบันขณะป่วย เพื่อที่หน้าที่จะได้ลงพื้นที่เก็บข้อมูลได้ถูกต้อง
-          ใบรายงานจำนวนวันใส่อุปกรณ์ต่างๆ (device-day) อยู่ใน Flow chart Kardex ให้ In chart เวรบ่ายลงทุกวัน เวลา 24.00 น และส่ง IC ทุกเดือน
-          หากมีผู้ป่วยที่ On Ventilator ให้ใช้แบบฟอร์ม Ventilatorrecord
-          ถ้าผู้ป่วยไปผ่าตัดให้ใช้แบบ Surgical Site Infection Surveillance Form กรอกข้อมูลลงไปในส่วนของ ward ให้ครบ แล้วใส่ไปกับchartไปห้องผ่าตัด ทางห้องผ่าตัดจะกรอกข้อมูลส่วนที่เป็นของห้องผ่าตัดเอง (*เค้าจะกรอกหรือไม่ก็แล้วแต่แต่เราต้องกรอกส่วนของเราให้ครบ*)
-          ผู้ป่วยใส่สายสวนปัสสาวะ ให้ใส่ใบ การดูแลผู้ป่วยที่ใส่สายสวนปัสสาวะ ไว้หน้าใบ Neuro sheet หรือใบ ICU Record
-          ถ้ามีการให้เลือดแก่ผู้ป่วย ให้ลงในใบบันทึกตรวจสอบก่อนให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด ลงตรวจสอบทั้งในช่องข้อมูลผู้ป่วย และช่องถุงเลือดและใบคล้องเลือดว่าข้อูลตรงกันหรือไม่ หลังตรวจสอบแล้วให้ Double check ด้วย RN อีกคน รวมเป็นRN 2 คนที่จะตรวจสอบข้อมูลและให้ลงบันทึกทั้ง 2 คน
งานIC
ให้บุคลากรในแผนกไปศึกษาเอกสารงาน IC ได้ในแฟ้มเอกสาร IC ซึ่งจะมีเอกสารใหม่มา Update เรื่อยๆ ตอนนี้จะมีเรื่องดังต่อไปนี้ที่มีเอกสารอยู่ในแฟ้ม IC
-          ใบคัดกรองผู้ป่วย เป็นใบที่ซักประวัติผู้ป่วยที่ห้องคัดกรองที่ OPD ใช้กับผู้ป่วยที่สงสัยว่าเป็นโรคติดต่อที่สามารถแพร่กระจายเชื้อไปสู่ผู้อื่น โดยจะแยกผู้ป่วยในห้องคัดกรองเท่านั้น และสวมmask ป้องกัน ขั้นตอนการให้บริการผู้ป่วยทุกอย่างจะทำที่ห้องคัดกรองเท่านั้น โดยผู้ป่วยไม่ต้องออกไปดำเนินการเอง จะมีทีมสหวิชาชีพมาให้บริการ ณ ห้องคัดกรองเอง (รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้ม IC)
-          แนวทางเฝ้าระวัง สอบสวนและรายงานโรคกรณีสงสัยติดเชื้อ enterovirusที่มีอาการรุนแรง และการระบาดของโรคมือ เท้า ปาก (รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้ม IC)
-          แบบส่งตัวอย่างตรวจวินิฉัยโรค Viral Myocarditis/Pericarditis/Meninggitis/Encephalitis/ Hand Foot Mouth Disease (รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้ม IC)
-          แนวทางการปฏิบัติเรื่องการให้บริการผู้ป่วย Hand Foot Mouth Disease (รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้ม IC)
-          การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนล่างเอง (รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้ม IC)
-          การป้องกันการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ (รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้ม IC)
-          การป้องกันการติดเชื้อในกระแสโลหิตในผู้ป่วยที่ใส่สายสวนหลอดเลือด (รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้ม IC)
-          การป้องกันการติดเชื้อในกระแสโลหิตจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย(Phlebitis) (รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้ม IC)
-          การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ( antiseptic) (รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้ม IC)
-          การล้างมือ (รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้ม IC)
เอกสารคุณภาพ
ให้บุคลากรในแผนกไปศึกษาเอกสารงานคุณภาพได้ในแฟ้มเอกสารงานคุณภาพซึ่งจะมีเอกสารใหม่มา Update เรื่อยๆ ตอนนี้จะมีเรื่องดังต่อไปนี้ที่มีเอกสารอยู่ในแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ
-          วิสัยทัศน์/พันธกิจ/เป้าหมาย/ค่านิยมของบุคลากรในโรงพยาบาล/นโยบายคุณภาพของโรงพยาบาล (รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          Service profile ของแผนก(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การให้บริการผู้ป่วยหนัก(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การช่วยแพทย์ใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจชนิดชั่วคราว (temporary pacemaker) (รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การช่วยแพทย์ใส่ swan ganz(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การดำเนินการรับผู้ป่วยใหม่(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การดำเนินการติดต่อแพทย์(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การรับคำสั่งแพทย์(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การเบิก-คืนยา(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การให้บริการผู้ป่วยก่อน-หลังผ่าตัด(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การเบิกอาหารผู้ป่วย(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การตรวจหาเชื้อ HIV และการจัดเก็บผลตรวจ(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การดำเนินการกรณีผู้ป่วยปฎิเสธการรักษา(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การดำเนินการกรณีผู้ป่วยขอย้ายโรงพยาบาล(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การดำเนินการเมื่อมีเหตุการณ์ผิดปกติในหอผู้ป่วย(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การดำเนินการย้ายผู้ป่วยระหว่างแผนก(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การจำหน่ายผู้ป่วย(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การรายงานการรับ-ส่งเวร(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้ก่อนทำให้ปราศจากเชื้อ(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          วิธีปฏิบัติเพื่อป้องกันผู้ป่วยแพ้ยาและอันตรายจากการแพ้ยา(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การดำเนินการรับผู้ป่วยสังเกตอาการ(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การดำเนินการผู้ป่วยเสียชีวิต(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การมอบหมายงาน(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          กรณีระบบการทำงานคอมพิวเอร์ขัดข้อง(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          การทำ code CPR(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)
-          วิธีการปฎิบัติ CPR(รายละเอียดเพิ่มเติมอ่านได้จากแฟ้มเอกสารงานคุณภาพ)

การแลกเวร
หากมีการแลกเวรให้คุยกับ Inchageแลกเวรกันแล้วให้มีการใช้เวรภายในเดือนนั้นเลย
หรือให้ยกเวรนั้นคิดเป็นของผู้รับเวรไปเลย

การพยาบาลผู้ป่วย
-          สายพ่นยาสามาถใช้อันเดิมได้ ส่วนกระเปาะพ่นยาและหน้ากากให้นำไปล้างแล้วนำมาเก็บไว้ที่เดิม
-          การล้างสาย Suction ให้ใช้น้ำธรรมดาล้างสาย Suction
-          หัว connecter  Suctionให้ตัดซอง Suction สวมไว้หลังSuction
-          การเปิดหลอดเลือดดำเพื่อให้สารน้ำ ให้ใช้ tegaderum ปิด
-          เจาะเลือดเสร็จให้ใช้สำลีแห้งปิด ห้ามเปิดGauze ปิด เพราะทำให้สิ้นเปลือง และGauze ส่วนที่เหลือก็อาจะมีการ Contaminated ได้
-          ผู้ป่วยที่ On HL ให้ใช้ NSS ชนิด Ampuเล็ก 5 CC ห้ามเปิดขวด 100 CC
-          การเติมน้ำในกระป๋องออกซิเจนให้ใช้ SW ขวด 100 CC เท่านั้น
-          แพทย์ท่านไหนที่สั่ง Admitted ผู้ป่วยให้ถือว่าแพทย์ท่านนั้นเป็นเจ้าของ Case
-          กรณีมีผู้ป่วยติดเชื้อที่มีการแพร่กระจายเชื้อมา Admitted ให้แจ้งกับทีมสหวิชาชีพด้วย เช่น โภชนากร ฝ่ายรังสีหากมีการมา CXR เจ้าหน้าที่กายภาพบำบัด
-          ไม่อนุญาตให้ญาติผู้ป่วยนอนพักที่ห้องรอญาติของแผนกไตเทียม
-          Case ฝาก recovery ห้ามใช้ red dot ของแผนก ให้วัดสัญญาณชีพด้วยแบบธรรมดา ยกเว้น case นั้นมีอาการที่ severe จริงๆแต่ถ้ามี red dot จาก OR แล้วก็ monitorได้
-          มีการเบิกชุดกิโมโนมาใช้กับผู้ป่วยแล้ว
-          ผ้าพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยให้ใช้ผ้าถุง
-          ผ้าที่ไม่ใช้ห้ามนำมาวางในห้องผู้ป่วย
-          ให้ช่วยกันดูแล unit care ในห้องผู้ป่วย
-          ขณะนี้อนุญาตให้ใช้ผ้าเช็ดมือได้เนื่องจากกระดาษทิชชูแผ่นใหญ่หมด
-          อุปกรณ์ต่างๆที่ใช้กับผู้ป่วยบางอย่างให้เขียนลงในกระดาษก่อน หาข้อสรุปได้แล้วจะแจ้งมาภายหลัง


ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง    ไม่มี
ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องประเด็นปัญหา
ปัญหาที่มักจะพบบ่อยๆในแผนก
-          การติดต่อ เจ้าหน้าที่ IT ในเวรบ่ายดึก ติดต่อไม่สะดวก เนื่องจากเจ้าหน้าITที่ไม่รับโทรศัพท์เพราะไม่ได้นั่งประจำที่แผนกตนเองแต่จะ ไปอยู่แผนกอื่น และเมื่อมีการต่อมือถือ ปรากฏว่าเจ้าหน้าที่กลับไปอยู่นอกโรงพยาบาล ทำให้มาถึงแผนกก็ใช้เวลานานกว่าปกติ
-          การทิ้งขยะยังทิ้งกันผิดอยู่ โดยการทิ้งที่ถูกต้องคือสิ่งที่สัมผัสกับสารคัดหลั่งผู้ป่วยให้ทิ้งถังแดงเท่านั้น
-          อุปกรณ์บางอย่างที่จำเป็นต้องใช้เขียนเบิกไปแล้วก็ไม่มี หรือยังไม่ได้ เช่น ไฟฉาย, ไม้กดลิ้นสแตนเลส, เอี๊ยมพลาสติกสวมเวลาอาบน้ำผู้ป่วย, Fixzomuเป็นต้น
เรื่องเสนอแนะ    
-          ควรแยกถังเพื่อทิ้งขยะเคมี
-          ควรแยกถังเพื่อทิ้งขวดแก้วยาผสมและยา Dripที่เป็นขวดแก้ว
-              IT ควรมีตารางเวรแจ้งให้ Ward ทราบด้วย
-              เวลาโทรตาม IT ให้ถามด้วยว่าใครเป็นผู้รับสาย เพื่อที่ว่าหากมีการลง record จะได้ระบุคนให้  ถูกต้อง
-             ตู้ผ้าผู้ป่วยอยู่ไกลเกินไปควรย้ายมาใกล้ๆ