วันจันทร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2554

การวางแผนการพยาบาล (Nursing Care Plan):หอผู้ป่วยหนักวิกฤติ





ด้านร่างกาย : แผนการพยาบาลที่ 11
วดป.
ปัญหาและความต้องการ
เป้าหมาย
การพยาบาล/การบำบัดทางการพยาบาล
ผลที่คาว่าจะได้รับ
วันที่บรรลุเป้าหมาย

เสี่ยง/มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ

ข้อมูลสนับสนุน
1.ลักษณะเสมหะ
จำนวน............................
สี.....................................
กลิ่น................................
2.BT..........................°C
3.ผล Sputum Gram
Stain…………………..
4.ผล Sputum culture
พบเช้อ
.........................................
.........................................
........................................
5.WBC…………………
Cells / cu.mm.
6.CXR…………………
7.อื่นๆ
(ระบุ)..............................
........................................
ไม่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ/การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจลดลง
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ได้แก่จำนวนและลักษณะของเสมหะ
2.ดูดเสมหะโดยใช้หลัก Sterile technique
3.เคาะปอด และ Vibration ก่อนและขณะดูดเสมหะ ตามสภาพความเหมาะสม
4.ทำความสะอาดช่องปาก และฟันให้ผู้ป่วยอย่างน้อย ทุก 4 ชั่วโมง
5.จัดให้ผู้ป่วยนอนท่า Fowler's position และเปลี่ยนท่านอน ทุก 2 ชั่วโมง
6.ระวังไม่ให้น้ำที่ค้างในสายเครื่องช่วยหายใจเข้าสู่ทางเดินหายใจของผู้ป่วย
7.ทำความสะอาดแผลเจาะคอ ทุก 12 ชั่วโมง และ PRN
8.ประเมินอุณหภูมิร่างกาย ทุก 4 ชั่วโมง
9.เช็ดตัวลดไข้ ถ้า BT > 38˚C
10.เปลี่ยน Circuit Ventilator ทุก 72 ชั่วโมง
11.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับ Antibiotics ตามแผนการรักษาพร้อมทั้งสังเกตและบันทึก อาการข้างเคียง
12.ติดตามผล Sputum gram stain / culture , film CXR
13.จัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาด
14.อื่นๆ
(ระบุ)...................................................
............................................................
q ผู้ป่วยมีเสมหะ
จำนวนน้อยลง
q สีขาว
q ไม่มีไข้
qWBC 5,000-10,000
Cells/cu.mm.
q CXR normal
qผล Sputum Gram
Stain / culture ไม่พบเชื้อ
q อื่นๆ
(ระบุ).............................
.......................................


ชื่อ-สกุล.......................................................................................
อายุ...........................ปี
เลขที่ทั่วไป..............................................
แผนก................................................
หอผู้ป่วย......................................................
แพทย์ผู้รักษา..............................................................





การวางแผนการพยาบาล (Nursing  Care  Plan)
หอผู้ป่วยหนักวิกฤติ  โรงพยาบาลองค์การบริหารส่วนังหวัดภูเก็ต
ด้านร่างกาย : แผนการพยาบาลที่ 30
วดป.
ปัญหาและความต้องการ
เป้าหมาย
การพยาบาล/การบำบัดทางการพยาบาล
ผลที่คาว่าจะได้รับ
วันที่บรรลุเป้าหมาย

เสี่ยงต่อการเคลื่อนตะโพกเทียมออกจากเบ้า

ข้อมูลสนับสนุน
1.หลังทำผ่าตัด Partial hip replacement (arthroplasty)
2.หลังทำผ่าตัด Total hip replacement (arthroplasty)
3.บริเวณที่ทำผ่าตัด ปวดและบวมมากขึ้น
4.อื่นๆ............................
......................................

-ไม่มีการเคลื่อนที่บางส่วนหรือทั้งหมดของข้อตะโพกเทียมออกจากเบ้า
1.อธิบายผู้ป่วยและญาติผู้ป่วย เกี่ยวกับการปฏิบัติงานอย่างถูกต้องหลังทำผ่าตัดใส่ข้อตะโพกเทียม
2.จัดให้นอนราบศีรษะสูงเล็กน้อย
3.จัดให้ขาข้างที่ทำผ่าตัดกางออก โดยใช้หมอนสามเหลี่ยมวางอยู่ระหว่างขาทั้งสองข้าง
4.หลีกเลี่ยง / ไม่งอเท้าหรือตะโพก มากกว่า 60-90 องศา
5.หลีกเลี่ยง / ไม่บิดขา หรือหมุนข้อตะโพกเข้าและออก
6.การพลิกตะแคงตัว ไม่นอนทับข้างที่ทำผ่าตัด และจัดให้ขาข้างที่ทำผ่าตัดเหยียดตรง ใช้หมอนวางระหว่างขาทั้งสองข้าง เพื่อไม่ให้ขาตกลงหรือหุบเข้า
7.อื่นๆ...................................................
.............................................................
.............................................................











q อาการปวดลดน้อยลง
q ไม่มีลักษณะบวมผิดรูปของข้อตะโพก ข้างที่ผ่าตัด
q ผล Film hip AP , lateral ปกติ
q อื่นๆ..........................
.......................................
.......................................


ชื่อ-สกุล.......................................................................................
อายุ...........................ปี
เลขที่ทั่วไป..............................................
แผนก................................................
หอผู้ป่วย......................................................
แพทย์ผู้รักษา..............................................................





การวางแผนการพยาบาล (Nursing  Care  Plan)
หอผู้ป่วยหนักวิกฤติ  โรงพยาบาลองค์การบริหารส่วนังหวัดภูเก็ต
ด้านร่างกาย : แผนการพยาบาลที่ 13
วดป.
ปัญหาและความต้องการ
เป้าหมาย
การพยาบาล/การบำบัดทางการพยาบาล
ผลที่คาว่าจะได้รับ
วันที่บรรลุเป้าหมาย

เสี่ยง / มีการบริเวณแผล
ข้อมูลสนับสนุน
1.แผลบวม แดง ร้อน
2.Discharge เป็นหนอง
3.ผล gram stain จากแผลพบ...................................
.........................................
4.ผล Discharge จากแผล
Culture
พบ..................................
........................................
5.มีไข้ T >38.5°C
6.WBC……cells/cu.mm
7.Neutrohil…………%
8.อื่นๆ
(ระบุ)...............................
.......................................
ไม่มีการติดเชื้อ
บริเวณแผล
ผ่าตัด
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อบริเวณแผล ได้แก่ แผลบวม
แดง ร้อน discharge สีผิดปกติ มีกลิ่นเหม็น
2.ดูแลทำความสะอาดแผลวันละ 2-3
ครั้ง
3.ให้การพยาบาลโดยใหลัก  Aseptic
Technique
4.ประเมิน v/s โดยเฉพาะอุณภูมิร่างกาย ทุก 4 ชั่วโมง
5.ให้การพยาบาลเพื่อลดไข้โดย Tepid
Sponge และให้ได้รับยาลดไข้ เมื่ออุณหภูมิ มากกว่า 38
6.ดูแลให้ได้รับยาปฎิชีวนะตามแผนการรักษา พร้อมทั้งสังเกตและบันทึกอาการข้างเคียง
7.ดูแลให้ได้รับสารน้ำและสารอาหารที่มีโปรตีนสูงและวิตมินสูงเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
8.ติดตามผลการตรวจทางห้องปฎิบัติการ culture discharge
จากแผล ,CBC
9.อื่น ๆ
(ระบุ)......................................................





qไม่มีอาการบวม แดง ร้อนที่บริเวณแผล
q อุณหภูมิ < 37.5 ° C
qWBC < 10,000
Cell / cu.mm.
qผล Culture ไม่พบเชื้อ
q อื่นๆ..........................
.......................................
.......................................


ชื่อ-สกุล.......................................................................................
อายุ...........................ปี
เลขที่ทั่วไป..............................................
แผนก................................................
หอผู้ป่วย......................................................
แพทย์ผู้รักษา..............................................................





การวางแผนการพยาบาล (Nursing  Care  Plan)
หอผู้ป่วยหนักวิกฤติ  โรงพยาบาลองค์การบริหารส่วนังหวัดภูเก็ต
ด้านร่างกาย : แผนการพยาบาลที่ 14
วดป.
ปัญหาและความต้องการ
เป้าหมาย
การพยาบาล/การบำบัดทางการพยาบาล
ผลที่คาว่าจะได้รับ
วันที่บรรลุเป้าหมาย

-มีการติดเชื้อในกระแสโลหิต

ข้อมูลสนับสนุน
1.ผล Hemcultureพบ
เชื้อ................................
2.WBC=……...Cells/
Cu.mm
3.BT=………..°C
4.RR………..ครั้ง/นาที
5.HR………..ครั้ง/นาที
6.อ่อนเพลีย
7.อื่นๆ
(ระบุ).............................
......................................
.....................................
.
ไม่มีการติดเชื้อในกระแสโลหิต
1.ให้การพยาบาลโดยใช้หลัก Aseptic
Technique โดยเฉพาะบริเวณที่ใส่สายสวนเข้าไปในร่างกาย
2.ประเมินและทำความสะอาดแผลบริเวณที่ใส่สายสวนต่างๆเข้าสู่ร่างกาย
อย่างน้อยวันละครั้ง
3.ประเมิน v/s โดยเฉพาะอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชั่วโมง
4.ให้การพยาบาลเพื่อลดไข้  โดยวิธี Tepid Sponge และให้ยาลดไข้เมื่ออุณหภูมิมากกว่า 38
5.ดูแลให้ได้รับยาปฎิชีวนะตามแผนการรักษาพร้อมทั้งสังเกตและบันทึกอาการข้างเคียง
6.ดูแลการได้รับสารอาหาร  พลังงานและสารน้ำ อย่างเพียงพอ เพื่อส่งเสริมให้ร่างกายแข็งแรง
7.ติดตามและประเมินผลการตรวจทางห้องปฎิบัติการ ผล H/C ,CBC
8.อื่นๆ
9.
10.อื่นๆ
(ระบุ)................................................
.......................................................


qBT ไม่เกิน 37.5 °C
q RR 16-24ครั้ง/นาที
qHR 60-100ครั้ง/นาที
qWBC<10,000
Cells/cu.mm.
qผล H/C ไม่พบเชื้อ
qอื่นๆ
(ระบุ)...........................
.......................................


ชื่อ-สกุล.......................................................................................
อายุ...........................ปี
เลขที่ทั่วไป..............................................
แผนก................................................
หอผู้ป่วย......................................................
แพทย์ผู้รักษา..............................................................








การวางแผนการพยาบาล (Nursing  Care  Plan)
หอผู้ป่วยหนักวิกฤติ  โรงพยาบาลองค์การบริหารส่วนังหวัดภูเก็ต
ด้านร่างกาย : แผนการพยาบาลที่ 11
วดป.
ปัญหาและความต้องการ
เป้าหมาย
การพยาบาล/การบำบัดทางการพยาบาล
ผลที่คาว่าจะได้รับ
วันที่บรรลุเป้าหมาย

เสี่ยง/มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ

ข้อมูลสนับสนุน
1.ลักษณะเสมหะ
จำนวน............................
สี.....................................
กลิ่น................................
2.BT..........................°C
3.ผล Sputum Gram
Stain…………………..
4.ผล Sputum culture
พบเช้อ
.........................................
.........................................
........................................
5.WBC…………………
Cells / cu.mm.
6.CXR…………………
7.อื่นๆ
(ระบุ)..............................
........................................
ไม่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ/การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจลดลง
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ได้แก่จำนวนและลักษณะของเสมหะ
2.ดูดเสมหะโดยใช้หลัก Sterile technique
3.เคาะปอด และ Vibration ก่อนและขณะดูดเสมหะ ตามสภาพความเหมาะสม
4.ทำความสะอาดช่องปาก และฟันให้ผู้ป่วยอย่างน้อย ทุก 4 ชั่วโมง
5.จัดให้ผู้ป่วยนอนท่า Fowler's position และเปลี่ยนท่านอน ทุก 2 ชั่วโมง
6.ระวังไม่ให้น้ำที่ค้างในสายเครื่องช่วยหายใจเข้าสู่ทางเดินหายใจของผู้ป่วย
7.ทำความสะอาดแผลเจาะคอ ทุก 12 ชั่วโมง และ PRN
8.ประเมินอุณหภูมิร่างกาย ทุก 4 ชั่วโมง
9.เช็ดตัวลดไข้ ถ้า BT > 38˚C
10.เปลี่ยน Circuit Ventilator ทุก 72 ชั่วโมง
11.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับ Antibiotics ตามแผนการรักษาพร้อมทั้งสังเกตและบันทึก อาการข้างเคียง
12.ติดตามผล Sputum gram stain / culture , film CXR
13.จัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาด
14.อื่นๆ
(ระบุ)...................................................
............................................................
q ผู้ป่วยมีเสมหะ
จำนวนน้อยลง
q สีขาว
q ไม่มีไข้
qWBC 5,000-10,000
Cells/cu.mm.
q CXR normal
qผล Sputum Gram
Stain / culture ไม่พบเชื้อ
q อื่นๆ
(ระบุ).............................
.......................................


ชื่อ-สกุล.......................................................................................
อายุ...........................ปี
เลขที่ทั่วไป..............................................
แผนก................................................
หอผู้ป่วย......................................................
แพทย์ผู้รักษา..............................................................





การวางแผนการพยาบาล (Nursing  Care  Plan)
หอผู้ป่วยหนักวิกฤติ  โรงพยาบาลองค์การบริหารส่วนังหวัดภูเก็ต
ด้านร่างกาย : แผนการพยาบาลที่ 12
วดป.
ปัญหาและความต้องการ
เป้าหมาย
การพยาบาล/การบำบัดทางการพยาบาล
ผลที่คาว่าจะได้รับ
วันที่บรรลุเป้าหมาย

มีภาวะติดเชื้อในช่องท้อง

ข้อมูลสนับสนุน
1.มี Perforate bowel
2.มี Tear stomach
3.มี Bowel gangrene
4.Rupture Liver c packing
5.Discharge จากแผล หรือ Drain ในช้องท้องเหลืองข้นปนน้ำตาล
(คล้ายหนอง)
6.อุจระเหลว,กลิ่นเหม็น
คาว,ท้องอืด
7.มีไข้สูง BT………°C
8.อ่อนเพลีย
9.WBC………………
Cell/cu.mm
10.อื่นๆ
(ระบุ).............................
......................................

ไม่มีการติดเชื้อในช่องท้องหรือการติดเชื้อลดน้อยลง
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อในช่องท้อง ได้แก่ท้องอืดตึง
Dischargeจากแผลและ Drain ในช่องท้อง คล้ายหนอง,กลิ่นเหม็น
2.ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก Aseptic
technique
3.ทำความสะอาดแผลผ่าตัดอย่างน้อยวันละ2ครั้ง
4.Care drai nต่างๆที่ออกจากช่องท้อง
5.ประเมิน V/S โดยเฉพาะอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชม.
6.ให้การพยาบาลเพื่อลดไข้โดย Tepid
Sponge และให้ได้รับยาลดไข้เมื่อ BT >
38 °C
7. ให้ได้รับยาปฎิชีวนะตามแผนการรักษาพร้อมทั้งสังเกตและบันทึกอาการข้างเคียง
8.ให้ได้รับสารน้ำและสารอาหารเพียงพอตามแผนการรักษา
9.ติดตามผลทางห้องปฎิบัติการได้แก่
WBC , Discharge,Culture
10.อื่นๆ
(ระบุ)...................................................
............................................................
qDischarge จากแผลและ Drain สีและกลิ่นปกติ
qอุณหภูมิ< 37.5°C
qท้องไม่อึด ไม่มี
อาการอ่อนเพลีย
qผล Culture ไม่พบเชื้อ
.q WBC < 10,000
Cell / cu.mm
q อื่นๆ
(ระบุ)...............................
.......................................
......................................




ชื่อ-สกุล.......................................................................................
อายุ...........................ปี
เลขที่ทั่วไป..............................................
แผนก................................................
หอผู้ป่วย......................................................
แพทย์ผู้รักษา..............................................................







0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น